ในปัจจุบันธุรกิจต่าง ๆ ที่ส่วนใหญ่ได้มีการริเริ่มที่จะขยายสาขาอย่างมากมายในประเทศไทย ผู้ประกอบการในธุรกิจนี้ส่วนใหญ่เป็นนักลงทุนหรือนักธุรกิจชาวต่างชาติ ในปัจจุบันนี้นักธุรกิจชาวต่างชาติไม่ว่าจะเป็นประเทศเพื่อนบ้านหรือจะประเทศในแถบทวีปใด ๆ ก็แล้วแต่ล้วนมองหาพื้นที่ที่สามารถสร้างผลกำไรจากพื้นที่ประเทศไทย เนื่องจากเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติ ทรัพยากรของคนและทรัพยากรทางวัตถุดิบ ซึ่งสามารถทำให้ธุรกิจดำเนินและขับเคลื่อนไปได้อย่างรวดเร็ว ประกอบทั้งมีค่าครองชีพที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับผู้คนที่อาศัยอยู่ในประเทศยุโรป แต่สูงกว่าเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งทำให้ชาวต่างชาติมากมายเล็งเห็นที่อยากจะมาจดทะเบียนบริษัทขยายสาขาในประเทศไทยเป็นประเทศแรก ๆ ที่นักธุรกิจมากมายนึกถึง

ในตอนนี้มีหลากหลายการบริการที่จะคอยซัพพอร์ตในเรื่องของการจดทะเบียนบริษัทให้กับชาวต่างชาติในเรื่องของกระบวนการในการรับจดทะเบียนบริษัทราคาถูกให้กับชาวต่างชาติด้วยราคาที่ย่อมเยานั้น มีข้อปฏิบัติที่สำคัญอยู่นั่นก็คือ ชาวต่างชาติและนักธุรกิจต่างชาติจะต้องมีการถือหุ้นในบริษัทอยู่มากกว่า 49% จึงจะสามารถดำเนินการจดทะเบียนบริษัทได้ ซึ่งตามนโยบายของรัฐบาลนั้นคอยเอื้อผลประโยชน์ให้กับนักลงทุนต่าง ๆ ได้ตัดสินใจที่จะเข้ามาลงทุนได้ง่ายมากขึ้นอีกด้วย แต่ถึงอย่างไรนั้นก็ต้องทำดำเนินการจดทะเบียนให้ถูกต้องตามขั้นตอนและข้อตกลงของประเทศไทยจึงจะสามารถประกอบธุรกิจในไทยได้

รับจดทะเบียนบริษัทราคา

เอกสารที่ทางบริษัทรับจดทะเบียนบริษัทราคาพิเศษเรียกใช้จะประกอบไปด้วย

1 บัตรประชาชนของนักลงทุนทั้ง 3 ท่านอาจจะใช้พาสปอร์ตหรือเอกสารแสดงตัวตนสำคัญ

2 ทะเบียนบ้านที่จะใช้เป็นที่ตั้งของบริษัทหรือโรงงาน

3 ชื่อบริษัททั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

4 แบบตรายาง ซึ่งถ้าหากยังไม่มีการออกแบบหรือยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้ทางทีมงานของบริษัทรับจดทะเบียนบริษัทราคาย่อมเยามักจะมีโปรโมชั่นในส่วนนี้ให้ฟรี ราคาส่วนใหญ่นั้นจะอยู่ในช่วงประมาณ 8,000 บาทถึง 15,000  บาทไทย ซึ่งราคานี้เป็นราคาที่รวมภาษีหรือ Vat 7% เรียบร้อยแล้ว โดยจะไม่มีการจ่ายค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิ่มเติมอีก

ในส่วนของการเตรียมเอกสารที่ทางหน่วยงานที่รับจดทะเบียนบริษัทราคาถูกกำหนดให้ ซึ่งในภายหลังจะต้องมีการให้ข้อมูลอีก 7 ข้อมูลที่สำคัญได้แก่

  1. ข้อมูลการแบ่งหุ้นของแต่ละคนในบริษัท ว่ามีการจัดสรรสัดส่วนเปอร์เซ็นต์รายได้กี่เปอร์เซ็นต์ อย่างไร
  2. จัดตั้งกรรมการหรือผู้มีอำนาจลงนามในการดำเนินการต่าง ๆ ภายในบริษัท
  3. ข้อมูลของกิจการที่จะดำเนินการว่าจะผลิตหรือทำเกี่ยวข้องกับธุรกิจสิ่งใด
  4. แผนที่ที่ตั้งของบริษัทโดยสังเขป
  5. ข้อมูลติดต่อไม่ว่าจะเป็นเบอร์โทรศัพท์ อีเมล หรือช่องทางการติดต่ออื่น ๆ ที่สามารถติดต่อได้โดยสะดวก
  6. ข้อมูลติดต่อของบริษัทที่จะใช้สำหรับการติดต่อค้าขายติดต่อจัดซื้อต่าง ๆ ที่ดำเนินการภายในนามของบริษัท
  7. เบอร์ติดต่อและอีเมลของผู้ถือหุ้นทุกท่าน เพื่อแจ้งการดำเนินงานหรือขั้นตอนต่าง ๆ หากมีความผิดพลาดหรือความคืบหน้าประการใดจะได้ให้ทางบริษัทแจ้งให้ทราบ